28 กรกฎาคม 2555

สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์



   

สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์
The Republic of the Union of Myanmar

 

ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้ง 
ทิศเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือติดกับจีน (2,185 กิโลเมตร) ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดกับลาว (235 กิโลเมตร) และไทย (2,401 กิโลเมตร) ทิศตะวันตกติดกับอินเดีย (1,463 กิโลเมตร)และบังกลาเทศ (193 กิโลเมตร)
ทิศใต้ติดกับทะเลอันดามันและอ่าวเบงกอล
เมืองหลวง 
นครเนปิดอว์ (Nay Pyi Daw)
ประชากร 
58.38 ล้านคน (ปีงบประมาณ 2551 - 2552)
ภาษาราชการ 
เมียนมาร์/พม่า
ศาสนา 
ศาสนาพุทธ (ร้อยละ 89)
ศาสนาคริสต์ (ร้อยละ 5)
ศาสนาอิสลาม (ร้อยละ 4) อื่น ๆ (ร้อยละ 2)

ประมุข 

 นายเต็ง เส่ง (U Thein Sein)                                               
ระบอบการปกครอง 
รัฐสภาที่สมาชิกมาจากการเลือกตั้ง โดยมีประธานาธิบดีเป็นประมุขประเทศ
และหัวหน้ารัฐบาล-เผด็จการทหาร (Military Council)

เขตการปกครอง 
แบ่งการปกครองเป็น 7 รัฐ สำหรับเขตที่ประชากรส่วนใหญ่เป็นชนกลุ่มน้อย และ
7ภาค สำหรับเขตที่ประชากรส่วนใหญ่เป็นเชื้อสายพม่า

หน่วยเงินตรา   

จ๊าด (Kyat) อัตราแลกเปลี่ยนประมาณ 725 จั๊ตเท่ากับ 1 ดอลลาร์สหรัฐ หรือ 24
จั๊ต เท่ากับประมาณ 1 บาท (ณ เดือนกันยายน 2554)

ดอกไม้ประจำชาติ

 ดอกประดู่ (Padauk) 












ชุดประจำชาติ
Longyi จือเครื่องแต่งกายมีการออกแบบในรูปทรงกระบอกมีความยาวจากเอวจรดปลายเท้า























อาหารประจำชาติ
หล่าเพ็ด (Lahpet









สถานที่ท่องเที่ยว
1.มหาเจดีย์ชเวดากอง เมืองย่างกุ้ง เป็นมหาเจดีย์ที่บรรจุพระเกศาธาตุ รวม 8 เส้น ของพระพุทธเจ้า มีประวัติตำนานเก่าแก่กว่า 2,000 ปี ตั้งแต่ครั้งที่ย่างกุ้งยังเป็นดินแดนของมอญมีชื่อเดิมว่า ดากองหรือ ตะเกิงก่อนจะถูกพม่ายึดครองไป แล้วเปลี่ยนชื่อเป็น ย่างกุ้ง” “ชเวดากองแปลว่า เจดีย์ทองแห่งเมืองดากองมหา เจดีย์แห่งนี้มีการบูรณปฏิสังขรณ์มาด้วยกันหลายครั้ง โดยเฉพาะมีโบราณราชประเพณีที่กษัตริย์ของมอญและพม่าที่จะขึ้นครองราชย์ บัลลังก์ จะต้องถวายทองคำหนักเท่ากับน้ำหนักของพระองค์เอง เพื่อนำมาห้อหุ้มองค์พระเจดีย์ ซึ่งถือกันว่าเป็นศูนย์กลางแห่งจิตวิญญาณของชาวพุทธ แห่งลุ่มน้ำอิระวดีที่สำคัญที่สุดมาจนถึงปัจจุบัน









                        สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์    The Republic of the Union of Myanmar

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น